คลังข้อสอบออนไลน์

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง
แบบทดสอบวิชา พท32005 การศึกษาวรรณกรรมท้องถิ่น
1)  ข้อใดเป็นลักษณะวรรณกรรมพื้นบ้าน
  บทประพันธ์ใช้ภาษาเรียบง่าย
  สร้างความหวาดกลัวในบางเรื่อง
  บทประพันธ์ส่วนใหญ่เป็นเรื่องจักร ๆ วงศ์ ๆ
  ใช้ภาษาอ่านยาก เพราะพัฒนาจากภาษา โบราณ
   
2)  ข้อใดเป็นความหมายของคำว่า “วรรณกรรมพื้นบ้าน”
  สิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
  ศิลปะการใช้ภาษาของท้องถิ่น
  ความรู้สึกนึกคิดของคนในท้องถิ่น
  การแก้ปัญหาสังคมของคนในท้องถิ่น
   
3)  วรรณกรรมท้องถิ่นที่ใช้ในการถ่ายทอดโดยการ บอกเล่าหรือการร้องเช่น การเล่านิทาน หรือ ร้องเพลงกล่อ
  วรรณกรรมเล่าเรื่อง
  วรรณกรรมมุขปาฐะ
  วรรณกรรมลายลักษณ์
  วรรณกรรมกลอนละคร
   
4)  ลักษณะของวรรณกรรมท้องถิ่น คือ
  สร้างขึ้นเพื่อถวายกษัตริย์
  ใช้ภาษากลางเป็นหลัก ไม่นิยมใช้ภาษาถิ่น
  ชาวบ้านเป็นผู้รู้รักษา ใช้วรรณกรรม ท้องถิ่น
  แต่งขึ้นเพื่อยกย่องพระเกียรติกษัตริย์ เป็นสำคัญ
   
5)  วรรณกรรมประเภทร้อยกรองมีอะไรบ้าง
  นิทาน นิยาย นวนิยาย
  โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน
  เรื่องสั้น บทละครพูด บทความ
  สารคดี ชีวประวัติ บันทึกจดหมายเหตุ
   
6)  . เรื่องใดเป็นวรรณกรรมพื้นบ้านที่ใช้เป็น แบบฉบับ
  โคนันทวิศาล
  ขุนช้างขุนแผน
  พระสมุทรโฆษ
  พระสุธมนโนรา
   
7)  ในสมัยใดถือว่าเป็นยุคทองของเพลงพื้นบ้านที่ เป็นเพลงปฏิพากย์ปรากฏเป็นมหรสพในงาน พระราชพิธีและมีการส
  สมัยอยุธยา
  สมัยสุโขทัย
  สมัยกรุงธนบุรี
  สมัยรัตนโกสินทร์
   
8)  การกระทำใดที่แสดงถึงการเห็นคุณค่าทางภูมิ ปัญญาไทยและเป็นการช่วยอนุรักษ์ภูมิปัญญาไทย
  นำภูมิปัญญาไทยที่มีอยู่มาศึกษา และพัฒนา
  อุดหนุนสินค้าที่เกิดจากภูมิปัญญา ของคนไทย
  เก็บรักษาภูมิปัญญาไทยที่มีอยู่ไว้อย่างดี ไม่มีผู้อื่นรู้
  เผยแพร่ภูมิปัญญาให้คนในชุมชน นำไปใช้ประโยชน์
   
9)  ข้อใดกล่าวถูกต้อง
  ไกรทอง คือวรรณกรรมพื้นบ้านภาคใต้
  หมาขนคำ คือ วรรณกรรมพื้นบ้าน ภาคกลาง
  ผาแดงนางไอ่ คือ วรรณกรรมพื้นบ้าน ภาคอีสาน
  ก่องข้าวน้อยฆ่าแม่ คือ วรรณกรรมพื้นบ้าน ภาคตะวันออก
   
10)  คำประพันธ์ต่อไปนี้มีภาพพจน์ตามข้อใด “วางรากศิลารัก สลักด้วยดวงชีวัน ขอเพียงเราอยู่คู่กัน ผูกพันตราบ
  อุปมา – อุปลักษณ์
  บุคคลวัต – อติพจน์
  อุปลักษณ์ – อติพจน์
  อุปลักษณ์ – บุคคลวัต