คลังข้อสอบออนไลน์

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง
แบบทดสอบวิชา สค32032 การเรียนรู้สู้ภัยธรรมชาติ 3
1)  ข้อใดไม่ใช่แนวทางการป้องกันไฟป่า ตามพระราชดำริ ป่าเปียก
  การสูบน้ำเข้าไปในที่ระดับสูงที่สุดเท่าที่ทำได้
  การปลูกต้นกล้วยในพื้นที่ที่กำหนดให้เป็นช่องว่าง ของป่า
  การเตรียมพื้นที่การเกษตรหรือปลูกพืช โดยวิธีฝังกลบ ไม่เผาตอซังทิ้ง
  การสร้างฝายชะลอความชุ่มชื้นขึ้น เพื่อปิดกั้นร่องน้ำ หรือลำธารขนาดเล็กเป็นระยะ ๆ
   
2)  ในฤดูแล้งเมื่อเกิดไฟป่าทางภาคเหนือเป็นบริเวณกว้างหน่วยงานใดที่ประชาชนสามารถไปขอความช่วยเหลือได้ตรงบท
  กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้
  กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยกระทรวงมหาดไทย
  กรมชลประทาน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
  กรมขนส่งทางบกกระทรวงคมนาคม
   
3)  ผลกระทบที่ร้ายแรงที่สุดจากการเกิดสึนามิคือข้อใด
  ประชาชนขาดรายได้
  ประชาชนได้รับบาดเจ็บ
  ประชาชนเสียชีวิตและสูญหาย
  ประชาชนเจ็บป่วยด้วยโรคต่าง ๆ
   
4)  ข้อใดคือผลกระทบที่เกิดจากภัยแล้ง ต่อประเทศมากที่สุด
  ปศุสัตว์
  เกษตรกรรมและแหล่งน้ำ
  อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
  สุขภาพอนามัยและคุณภาพชีวิต
   
5)  ข้อใดเป็นสาเหตุสำคัญที่ทำให้เกิดดินโคลนถล่ม
  ก่อสร้างอาคารบ้านเรือน
  การตัดไม้ทำลายป่า
  การขุดลอกคูครอง
  การสูบน้ำใต้ดิน
   
6)  การเกิดไฟป่ามีสาเหตุและปัจจัยจากข้อใดมากที่สุด
  ฟ้าผ่าแห้ง
  ฟ้าผ่าเปียก
  น้ำมือมนุษย์
  กิ่งไม้เสียดสีกัน
   
7)  ข้อใดบอกวิธีปฏิบัติตนขณะเกิดสึนามิ ได้อย่างถูกต้องที่สุด
  สมหญิง พาครอบครัวไปอยู่ที่สูง
  สมหวัง เดินสังเกตเหตุการณ์ชายทะเบ
  สมศรี ออกเรียหาปลาใกล้ ๆ ชายฝั่งทะเล
  สมควร คอยฟังเสียงสัญญาณเตือนจากศูนย์ป้องกันภัย
   
8)  ผู้ใดปฏิบัติตนได้เหมาะสมที่สุดในขณะเกิดภัยเเล้ง
  นายแดนไทย รีบกำจัดวัชพืชเพื่อปลูกผัก
  นายแทนคุณ อาบน้ำจากฝักบัวแทนการตักอาบ
  นายชาติชาย ติดตามสภาวะอากาศจากกรมอุตุวิทยา
  นายวรรณชาติ ปลูกพืชตระกูลถั่วงอกบริเวณโคนต้นไม้ช่วงปลายฤดูฝน
   
9)  ข้อใดเป็นลักษณะภูมิประเทศที่เสี่ยงต่อการเกิดน้ำท่วม แบบฉับพลัน
  ก. บริเวณภูเขาสูง
  ข. บริเวณปากแม่น้ำ
  ค. บริเวณที่ราบชายฝั่ง
  ง. บริเวณที่ราบหุบเขา
   
10)  ข้อใดกล่าวถึงสาเหตุการเกิดวาตภัยได้ถูกต้อง
  การเกิดพายุฝนฟ้าคะนอง
  การเปลี่ยนแปลงของฤดูกาล
  ความแตกต่างของอุณหภูมิ 2 แห่ง
  สภาพความชื้นของชั้นบรรยากาศ