คลังข้อสอบออนไลน์

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอแม่พริก จังหวัดลำปาง
แบบทดสอบวิชา ทร02018 มาเรียนรู้กับภูมิปัญญากันเถอะ
1)  ข้อใดคือความหมายของ “ภูมิปัญญา”
  ความรู้ที่ทรงคุณค่าอนุรักษ์ไม่ควรเผยแพร่ ให้กับใครนอกจากบุตรหลาน
  ความรู้ต่าง ๆ ที่สืบทอดจากบรรพบุรุษที่คนรุ่นต่อ ๆ มาจนถึงปัจจุบัน
  ความรู้ที่ได้มีการพัฒนาจากความต้องการของมนุษย์เพื่อให้ทันการเปลี่ยนแปลง
  ความรู้ที่สั่งสมไว้จากสิ่งดั่งเดิมไม่ได้มี การดัดแปลงปัจจุบันลงเพื่อไม่ให้สูญเสีย
   
2)  คำกล่าวข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคุณสมบัติ ของผู้ทรงภูมิปัญญาไทย
  เป็นคนมีคุณธรรมมีความสามารถในวิชาชีพ
  มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้เป็นเลิศ
  เป็นผู้มีปัญญารอบรู้ไม่จำเป็นต้องสร้างสรรค์ งาน
  เป็นผู้คงแก่เรียนและมั่นศึกษาหาความรู้ อยู่เสมอ
   
3)  ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เกี่ยวกับประเพณีและ พิธีกรรมเป็นการเพิ่มขวัญและกำลังใจเกี่ยวกับ
  ประเพณี บวชป่า
  ประเพณีแห่นางแมว
  ประเพณีลงแขกเกี่ยวข้าว
  ประเพณีไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์
   
4)  ภูมิปัญญาหมายถึงข้อใด
  ความรู้ที่สืบทอดจากบรรพบุรุษที่คน รุ่นต่อๆ มาจนถึงปัจจุบัน
  ความรู้ที่ทรงไว้จากสิ่งดั้งเดิมไม่ได้มีการ ดัดแปลงเพื่อให้ไม่ให้สูญเสีย
  ความรู้ที่ได้มีการพัฒนาจากความต้องการของ มนุษย์เพื่อให้ทันการเปลี่ยนแปลง
  ความรู้ที่ทรงคุณค่าอนุรักษ์ไม่ควรเผยแพร่ ให้กับบุคคลผู้ใดนอกจากบุตรหลาน
   
5)  ข้อใดเป็นภูมิปัญญาของท้องถิ่นภาคอีสาน
  ผ้าบาติก
  เสื่อจันทบูร
  ผ้าไหมทอมือ
  การทำถ้วยจานเชรามิค
   
6)  ข้อใดไม่ใช่เอกลักษณ์ท้องถิ่นของชาติไทย
  ธงไตรรงค์
  ภาษาส่วย ลาว เขมร
  หมอลำ กันตรึม ฟ้อนเล็บ ลำกลองยาว
  ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ลัทธิขงจื้อ
   
7)  “ทำบุญตานก๋วยสลาก” เป็นวัฒนธรรมไทยทางภาคเหนือให้คติสอนใจเกี่ยวกับเรื่องใด
  ความดีงาม
  ความอดทน
  ความเมตตา
  ความสามัคคี
   
8)  แกงไตปลา เป็นภูมิปัญญาภาคใด
  ภาคใต้
  ภาคเหนือ
  ภาคกลาง
  ภาคอีสาน
   
9)  สมุนไพรมีข้อดีกว่ายาซึ่งเป็นสารเคมีตรงที่
  ไม่ทิ้งสารเคมีตกค้างในร่างกาย
  ให้ผลในการรักษาที่รวดเร็วกว่า
  สมุนไพรไทยใช้รักษาโรคได้ทีเดียว หลาย ๆ โรค
  ช่วยประหยัดเงิน เพราะอาจหาเก็บได้ ตามธรรมชาติ
   
10)  ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับ “ครูปัญญา”
  เป็นผู้มีเชื้อชาติและสัญชาติไทย
  เป็นผู้สืบสานภูมิปัญญาด้านใดด้าน หนึ่งของไทยและต่างชาติ
  เป็นผู้บูรณการการอนุรักษ์และพัฒนา ภูมิปัญญาหนึ่ง ๆ เข้าด้วยกัน
  เป็นผู้สร้างสรรค์ภูมิปัญญาหนึ่งๆ อย่าง ต่อเนื่องจนเป็นที่ยอมรับของสังคม